ศ.ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช       

ตำแหน่ง        :        ศาสตราจารย์

     หน่วยงานที่สังกัด :       หน่วยวิจัยเพื่อการใช้ประโยชน์จากไมโครเวฟในงานวิศวกรรม
                                          (Research Center of Microwave Utilization in Engineering(R.C.M.E))
                                           ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
                             
             มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
                                  
        รหัสไปรษณีย์    12120   หมายเลขโทรศัพท์   02-5643001-9 ต่อ 3153
    
                                      E-mail : ratphadu@engr.tu.ac.th



ประวัติการศึกษา

ระดับปริญญา

อักษรย่อปริญญา / สาขาวิชาวิชาเอก

สถาบันการศึกษา

 

ชื่อ

ประเทศ

ปริญญาตรี

วศ.บ./วิศวกรรมเครื่องกล

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ไทย

ปริญญาโท

วศ.ม./วิศวกรรมเครื่องกล

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ไทย

Research Student

Mechanica Engineering

Nagaoka University of Technology ( ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น )

Japan

 

ปริญญาเอก


Ph.D./ Mechanical Engineering

Nagaoka University of Technology ( ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น )

Japan

Post Doctoral Fellow

Chem. Eng. and Material Sci.

University of Minnesota Twin Cities (Post Doc. Grant)

USA

ปริญญาโท

รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต
(การเมืองและการปกครองสำหรับผู้บริหาร)

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ไทย


ประสบการณ์ทางด้านงานบริหาร (ตั้งแต่อดีต -ปัจจุบัน):

    • ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยแห่งความเป็นเลิศ Center of Excellence in Electromagnetic Energy Utilization in Engineering (CEEE) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • รองคณบดีฝ่ายการนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • ที่ปรึกษาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.วิจัย)
    • คณะทำงานมหาวิทยาลัย 4.0 (University 4.0)
    • คณะทำงานยุทธศาสตร์ประเทศไทย (ในนาม ทปอ.วิจัย) Thailand 4.0
    • กรรมการสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย สภาวิจัยแห่งชาติ
    • กรรมการและคณะทำงานยุทธศาสตร์วิจัยแห่งชาติ (ในนาม วช.)
    • คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์วิจัย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)
    • คณะกรรมการบัญชีรายชื่อนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ไทย (วช.)
    • กรรมการประเมินสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมนานาชาติ (วช.)
    • คณะกรรมการบ่มเพาะนักประดิษฐ์สายอาชีวศึกษาทั่วประเทศ (วช.)
    • คณะกรรมการบ่มเพาะนักประดิษฐ์สายอุดมศึกษาทั้งประเทศ (วช.)
    • ประธานคลัสเตอร์พลังงาน เครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ (RUN: Research University Network)
    • Research Manager คลัสเตอร์พลังงานประเทศไทย เครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ (RUN)
    • ที่ปรึกษาการจัดตั้งโครงการหลักสูตรใหม่ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM)
    • กรรมการสภามหาวิทยาลัย  สถาบันรัชภาคย์
    • กรรมการสภามหาวิทยาลัย   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
    • กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
    • กรรมการสภาวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

    ประวัติการทำงานภาคเอกชน

    • วิศวกรเครื่องกล บริษัท เชลล์ ประเทศไทย
    • ผู้จัดการส่วน บริษัท อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน)  (ปัจจุบันคือ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)


    ประสบการณ์ทางด้านการทำงานด้านวิชาการ
    • เมธีวิจัยอาวุโส สกว. ประจำปี 2556 และ 2559
    • ศาสตราจารย์ระดับ 11 (2555)
    • ศาสตราจารย์ระดับ 10 (2552)
    • รองศาสตราจารย์ วิธีพิเศษ (2549)
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (2547)
    • วุฒิเมธีวิจัย สกว.  2550  2552 และ 2555
    • ทุนวิจัย Translation Grant สกว. 2550  และ 2552
    • เมธีวิจัย สกว.  2547  2549 และ 2559
    • เป็น Committee และ Chair สำหรับการประชุมนานาชาติและระดับชาติมากกว่า 50 รายการ
    • เป็น Reviewer  ประจำวารสารวิจัยระดับนานาชาติ มากกว่า 50 วารสาร
    • ผลิตบัณฑิต ระดับปริญญาเอก ภายใต้ทุนปริญญาเอก กาญจนาภิเษก (คปก.) และทุน สกอ.   สำเร็จการศึกษาแล้วรวม 10 คน
    • ผลิตบัณฑิต ระดับปริญญาโทและเอกด้วยทุนอื่นๆกว่า 30 คน
    • ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยแห่งความเป็นเลิศ Center of Excellence in Electromagnetic Energy Utilization in Engineering (CEEE) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รางวัลวิชาการทั้งระดับชาติและนานาชาติ

    • 3 รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์โลก กรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ ประจำปี  2559
    • รางวัลเข็ม "เสมาคุณูปการ" จากกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะที่เป็นผู้ทำคุณประโยชน์แก่กระทรวงฯ
    • รางวัล ผลงานวิจัยระดับดีมาก สภาวิจัยแห่งชาติ  (วช.) ประจำปี  2558
    • รางวัลวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ (ฐานะอาจารย์ที่ปรึกษา) สภาวิจัยแห่งชาติ  (วช.) ประจำปี  2558
    • รางวัลผู้มีจำนวนผลงานอ้างอิง  (Citation) ในบทความวิชาการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ (ที่มีค่า Impact factor) สูงสุดของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประจำปี 2558
    • รางวัลวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ระดับดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฐานะอาจารย์ที่ปรึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประจำปี  2558
    • รางวัลวิทยานิพนธ์ปริญญาโท ระดับดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฐานะอาจารย์ที่ปรึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประจำปี  2558
    • รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์โลก รางวัลเหรียญทอง  ณ กรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ ประจำปี  2558
    • รางวัลพระราชทานเข็มเกียรติยศทองคำ “บุคคลดีเด่นของชาติสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำปี 2556” คณะกรรมการเอกลักษณ์แห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี
    • รางวัลโล่พระราชทานเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ประจำปี 2556
    • รางวัลผู้มีจำนวนบทความวิชาการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ (ที่มีค่า Impact factor) สูงสุดของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประจำปี 2556
    • รางวัลวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ (ฐานะอาจารย์ที่ปรึกษา) สภาวิจัยแห่งชาติ  (วช.) ประจำปี  2557
    • รางวัลอาจารย์ดีเด่น ปอมท. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2555 ที่ประชุมสภาอาจารย์แห่งประเทศไทย (ปอมท.)
    • รางวัล ผลงานวิจัยดีเด่น 2 ผลงาน (คลัสเตอร์พลังงาน) โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2556
    • รางวัล Special Prize for Outstanding Invention by Korea Invention Promotion Association (KIPA) 2013
    • รางวัลวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ระดับดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฐานะอาจารย์ที่ปรึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประจำปี  2556
    • รางวัลวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย (ฐานะอาจารย์ที่ปรึกษา) สภาวิจัยแห่งชาติ  (วช.) ประจำปี  2555
    • รางวัลวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ระดับดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฐานะอาจารย์ที่ปรึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประจำปี  2555
    • รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์โลก (SIIF 2012) รางวัลเหรียญทอง (1 เหรียญทอง และ 1 เหรียญเงิน)
    • ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี
    • รางวัลอาจารย์ดีเด่น ปอมท. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2554 ที่ประชุมสภาอาจารย์แห่งประเทศไทย (ปอมท.)
    • รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์โลก รางวัลเหรียญเงิน  ณ กรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ ประจำปี  2555
    • รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สภาวิจัยแห่งชาติ  (วช.) ประจำปี  2554
    • รางวัลผลงานวิจัยระดับดี สภาวิจัยแห่งชาติ  (วช.) ประจำปี  2554
    • รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์โลก (SIIF 2011) รางวัลเหรียญทอง (2 เหรียญทอง)
    • ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี
    • รางวัล กีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2553)
    • รางวัลผลงานวิจัยระดับ Outstanding ของฝ่ายวิชาการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี 2553
    • รางวัล Outstanding Reviewer, Talor&Francis Press 2010
    • รางวัลผลงานวิจัย สภาวิจัยแห่งชาติ  (วช.) ประจำปี  2549 2550 และ 2554
    • รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้น สภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปี  2548 2549 2550
    • 2551 2552 และ 2554
    • รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยมสาขา Thermal System and Fluid Mechanics  การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ประจำปี 2553
    • รางวัลผลงานสิ่งประดิษฐ์โลก (SIIF 2006) รางวัลเหรียญเงิน ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี
    • รางวัลผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2549
    • กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและมูลนิธิธนาคารกรุงเทพ
    • รางวัลผลงานวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ระดับดีเยี่ยม ประจำปี 2546 สาขา
    • วิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย จากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • โล่รางวัลเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น วันนักวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 12 ครั้ง (2546-2558)

งานวิจัย ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช

ผลงานที่สำคัญ (เฉพาะที่สำคัญโดยย่อ เช่น งายวิจัย งานค้นคว้า ประดิษฐ์กรรม ตำรา ฯลฯ
กล่าวในภาพรวม ผลงานวิจัยของ ศ.ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโชที่ผ่านมา ได้เน้นวิจัยเชิงสหวิทยาการ (Multi-disciplinary) และบูรณาการที่ครบวงจร กล่าวคือ โดยในส่วนของงานวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) ผ่านกระบวนการทางโมเดลเชิงคณิตศาสตร์ชั้นสูงควบคู่ระเบียบวิธีการคำนวณเชิงตัวเลขชั้นสูงที่ ศ.ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช พัฒนาขึ้นมาเอง ซึ่งได้มุ่งเป้าในเชิงวิชาการ (Academic side) และสร้างผลงานคุณภาพบ่งบอกถึงการค้นหาองค์ความรู้ใหม่ที่สามารถตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มี Impact Factor  และ H- Index สูง (ปัจจุบันของ ศ.ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช มีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารนานาชาติเฉลี่ยปีละกว่า 12 เรื่อง)  ในส่วนของงานวิจัยประยุกต์ (Applied Research) ได้ต่อยอดองค์ความรู้จากงานวิจัยพื้นฐาน  เพื่อมุ่งเป้าพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ  โดยในชั้นนี้ผลสรุปงานวิจัยจะออกมาในรูปออก Experimental Data และสุดท้ายเป็นงานวิจัยอุตสาหกรรม (Industry Research) โดยเป็นการนำองค์ความรู้มาต่อยอดเป็น รูปแบบกระบวนการที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาต่อเนื่องให้อยู่ในรูป Pilot Scale และ Commercial Scale ซึ่งเป็นภาคส่วนสุดท้ายของงานวิจัยที่ครบวงจร  ซึ่งในส่วนนี้ผู้วิจัยได้สร้างเครื่องต้นแบบทั้งในระดับ Pilot Scale และ Commercial Scale ที่สามารถจดสิทธิบัตรได้และสามารถนำไปใช้งานได้จริงในภาคอุตสาหกรรม  และผลงานสิ่งประดิษฐ์ทุกชิ้นยังได้รับรางวัลสำคัญระดับชาติและนานาชาติ     ปัจจุบัน ศ.ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช มีวิจัยสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมซึ่งนำมาสู่การจดสิทธิบัตรกว่า 10 ผลงาน มีผลงานวิจัยที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยระดับนานาชาติที่มีมาตรฐานสูง (high impact factor)  มากกว่า 100 รายการ  นอกจากนี้ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยระดับนานาชาติ ของ ศ.ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช ยังได้รับการอ้างอิง (Citation) มากกว่า 2000 รายการ และได้รับรางวัลวิจัยระดับนานาชาติกว่า 15 รางวัล และรางวัลภายในประเทศกว่า 80 รางวัล
ศ.ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช มีความร่วมมือวิจัยกับ ศาสตราจารย์วิจัยในมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกหลายแห่ง อาทิ University of California, Riverside, USA., Cornell University, USA, Cambridge University, UK. และ Nagaoka University of Technology, Japan เป็นต้น


 

โครงการวิจัยภายใต้การสนับสนุนจากแหล่งทุนต่างๆ:
ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช มีโครงการวิจัยภายใต้การสนับสนุนจากแหล่งทุนต่างๆ อาทิเช่น (บางส่วน)


Sl. No.

Project Type

Contract No.

Title of the Project

1

RGJ-PHD 53 (ทุน คปก.)

รอทำสัญญารับทุน

Theoretical and Experimental Analysis of Freezing Process in Unsaturated Porous Media

2

RGJ-PHD 52(ทุน คปก.)

รอทำสัญญารับทุน

The Influence of Electromagnetic Wave on Transport Phenomena in Tissue Membrane

3

RGJ-PHD 51(ทุน คปก.)

รอทำสัญญารับทุน

Analysis of Heat and Mass Transport in Human Tissue

4

RGJ-PHD 51(ทุน คปก.)

รอทำสัญญารับทุน

A study of microwave ablation in liver cancer by computer simulation

5

RGJ-PHD 50(ทุน คปก.)

PHD/0201/2550

Analysis of Microwave Heating of Dielectric Materials included Natural Convection effect (Theory and Experiment)

6

RGJ-MAG 50(ทุน คปก.)

MRG-OSMEP505E143

Applied Microwave Pyrolysis in Waste Recycle System (Case : Plastics and Rubber Waste

7

CHE-PhD-SW-RG 50(ทุน สกอ..)

54/2550

Theoretical Analysis of Heat-Mass Transport and Pressure Buildup in Multi-Layered Porous Media under Electromagnetic Energy

8

RGJ-PhD-50 (ทุน คปก.)

PHD/0286/2550

Research and development on the multi-purpose commercialized drier using a combined microwave and vacuum system; case study: high quality product

9

RGJ-PHD 49(ทุน คปก.)

PHD/0030/2549

Characterization of Cementitious materials Subjected to Microwave Energy: mechanisms, microstructures and phase relations in the system
CaO-SiO2-Al2O3-H2O thermally cured at evaluated temperatures

10

RGJ-PHD 49(ทุน คปก.)

PHD/0106/2549

Experimental and Theoretical Analysis of Heat and Mass Transfer in Biomaterial under Microwave Energy

11

CHE-PhD-SW-RG 49(ทุน สกอ..)

 11/2549

Theoretical and Experimental Analysis of
Heat and Mass Transport in Porous Concrete Slab Subjected to Microwave
Energy

12

TRF Grant for New Researcher (Mentoring of Dr. Banyoung Rungreongduayboon)  

MRG4880134

Thermal Forming of Plastic Sheet  

13

TRF-CHE Research Grant for New Scholar (Mentoring of Dr. Chainarong Jaktharanond)

MRG5080204

Analysis of Enhancement of Heat and Mass Transfer in Porous Packed Bed with   Electrohydrodynamics (EHD) (Theoretical and experimental analysis)

14

TRF-CHE Research Grant for New Scholar  (Mentoring of Asst. Prof. Dr. Watit Pakdee)

MGR4880017

Natural convection flow in cavity filled with porous material under the influence   microwave energy using a rectangular wave guide (theoretical and experimental analysis)

15

TRF-CHE Research Grant for New Scholar  (Mentoring of Asst. Prof. Dr. Watit Pakdee)

MGR5180238

An Investigation of Heat and Fluid Flows in Saturated Multi-Layered Porous Packed Bed during Microwave Heating using a Rectangular Wave Guide

16

TRF Senior Research Scholar

belong to Prof. Dr. Somchai Wongwises

Freezing Process in Granular Packed Bed  

17

Research Career Development Grant (“TRF Research Scholar.”),

RSA4780005

Theoretical and Experimental Analysis of Thawing Process in Unsaturated Porous Media

18

TRF Basic Research Grant (“TRF Advanced Research Scholar”. )

BRG498014

Analysis of Heat and Mass Transfer Process in Porous Media  during under Microwave Energy

19

TRF Basic Research Grant (“TRF Advanced Research Scholar”. )

BRG5280011

Theoretical and Experiment Study of Coupled Heat and Mass Transfer in Multi-Layered Porous Media under Electromagnetic Energy

20

Translation Research Grant

IUG525280012

Research and Development on the Commercialized Wood Drier Using a Combined Unsymmetrical Multi-Feed Microwave and Hot Air-Continuous Belt  System

21

Translation Research Grant

IUG5080023

Research and Development on The Multi-Purpose Commercialized Drier using a  Combined Microwave and  Vacuum System

 

(หมายเหต; ทุกทุนได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยงานภายนอก คือ สำนักกองทุนสนับสนุนการทำวิจัย (สกว.)  นอกจากนี้ยังได้รับทุนจากแหล่งอื่น อาทิ สภาวิจัย สวทช. และบริษัทเอกชน เป็นต้น โดยที่ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยหรือสามารถปิดโครงการวิจัยได้ตามกำหนดในทุกโครงการ)

ผลงานสิทธิบัตร:
ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช มีผลงานวิจัยที่สามารถจดสิทธิบัตรได้หลายรายการดังสรุปในตารางข้างล่าง (บางส่วน)

เลขที่คำขอ

วันที่ยื่น
คำขอ

เรื่อง

ผู้ประดิษฐ์

ผู้ขอรับสิทธิบัตร

0501004362

16 ก.ย. 48

เครื่องอบแห้งโดยใช้คลื่นไมโคร
เวฟร่วมกับระบบสะเป๊าเต็ดเบด

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

0701003861

2 ส.ค. 50

เครื่องกำเนิดความร้อนด้วยคลื่นไมโครเวฟชนิดป้อนคลื่นหลายตำแหน่งร่วมกับระบบสายพานลำเลียง

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

0801003687

15 ก.ค. 51

ชุดลดความชื้นของวัสดุภายใต้อิทธิพลของสนามไฟฟ้า

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

0901000779

24 ก.พ. 52

การอบแห้งเชิงอุตสาหกรรมโดย
ใช้ไมโครเวฟกำลังสูงในระบบสุญญากาศ

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

0901000780

24 ก.พ. 52

การอบแห้งเชิงอุตสาหกรรมโดยใช้ไมโครเวฟกำลังต่ำในระบบสุญญากาศ

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

0901003125

10 ก.ค. 52

เครื่องมือวัดการรั่วไหลของคลื่นไมโครเวฟที่แสดงผลในรูปของ LED BAR

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

1001000473

24 มี.ค. 53

เครื่องกำจัดขยะติดเชื้อด้วยความร้อนจากคลื่นไมโครเวฟ

ชนิดป้อนคลื่นหลายตำแหน่งร่วมกับระบบสายพานลำเลียง

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อยู่ขั้นดำเนินการ

      xx

อุปกรณ์บ่มสีเส้นจราจรด้วยคลื่นไมโครเวฟ

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อยู่ขั้นดำเนินการ

      xx

กระบวนการไพโรไลซีสพลาสติกเหลือ
ใช้ด้วยคลื่นไมโครเวฟมัลติโหมดกำลังสูง

ศ.ดร .ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 

รางวัล:
ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช มีผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลจากองค์กรต่างๆ ดังข้อมูล

http://www.phadungsak.me.engr.tu.ac.th/priz.html



หน่วยวิจัยเพื่อการใช้ประโยชน์จากไมโครเวฟในงานวิศวกรรม
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต)
อ.คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (12120)
โทร. 02 5643001-9 ต่อ 3153
e-mail : ratphadu@engr.tu.ac.th